ทดลองใช้งานฟรี
การทำบัญชีเป็นสิ่งสำคัญมาก สำหรับธุรกิจ มีการกล่าวกันว่า เจ้าของธุรกิจควรจะมีความรู้ด้านบัญชีเป็นพื้นฐาน อย่างไรก็ดีความรู้ด้านบัญชี และข้อมูลทางบัญชีมันมีความสำคัญอย่างไรกับธุรกิจ? ทำไมถึงสำคัญ เราน่าจะพอแบ่งเป็นข้อๆ ได้ดังนี้
จรรยาบรรณของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี (Code of Ethics for Professional Accountants) เป็นหลักการและมาตรฐานที่ผู้ประกอบวิชาชีพบัญชีต้องปฏิบัติตามเพื่อให้การดำเนินงานมีความถูกต้อง โปร่งใส และมีความรับผิดชอบต่อสังคมและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ซึ่งจรรยาบรรณเหล่านี้ได้รับการกำหนดโดยองค์กรระดับสากล เช่น สภาวิชาชีพบัญชีโลก (IFAC) และสภาวิชาชีพบัญชีไทย (FAP) โดยปกติแล้วจะมีหลักการพื้นฐานหลัก 5 ประการ ดังนี้
ผู้สอบบัญชีภาษีอากร (Tax Auditor) คือ บุคคลที่ได้รับการแต่งตั้งจากหน่วยงานภาครัฐหรือได้รับการยอมรับจากกรมสรรพากรให้มีหน้าที่ในการตรวจสอบและประเมินภาษีอากรที่องค์กรหรือบุคคลต้องชำระให้กับรัฐ โดยการสอบบัญชีภาษีอากรมีหน้าที่สำคัญในการตรวจสอบความถูกต้องและการปฏิบัติตามกฎหมายภาษีอากรที่เกี่ยวข้อง
การบัญชีภาษีอากร (Tax Accounting) และการบัญชีการเงิน (Financial Accounting) มีความแตกต่างกันในด้านหลักการและวัตถุประสงค์ โดยสามารถสรุปความแตกต่างได้ ดังนี้
กฎหมายภาษีที่ส่งผลกระทบต่องานบัญชีมีหลายประเภท และมีผลกระทบทั้งในด้านการบันทึกบัญชี การจัดทำงบการเงิน รวมถึงการยื่นภาษีให้เป็นไปตามกฎหมาย นี่คือลักษณะสำคัญของกฎหมายภาษีที่ส่งผลต่อการปฏิบัติงานบัญชี
หลายๆ คนที่เป็นเจ้าของธุรกิจ SMEs ทั้งหลาย มักจะเกิดความสงสัยว่า จะทำธุรกิจอย่างไรถึงจะประหยัดภาษีได้มากที่สุด แถมยังไม่รู้ว่าจะใช้เทคนิคไหนดีเพื่อวางแผนภาษีให้ถูกต้อง ครั้นจะวางแผนง่ายๆ ให้ถูกใจตัวเองด้วยการจ่ายภาษีน้อยๆ ก็กลัวว่าจะกลายเป็นเรียกให้สรรพากรมาหาถึงออฟฟิศเสียได้
ทางเลือกหนึ่งของแหล่งเงินทุนในธุรกิจ คือ การขอสินเชื่อจากธนาคาร และเมื่อได้เบิกรับเงินกู้มาแล้ว ลำดับต่อมาเป็นเรื่องของการผ่อนชำระหนี้ ซึ่งหลายๆ ธุรกิจมองภาระการผ่อนในแต่ละเดือนว่าเป็นค่าใช้จ่ายประจำอย่างหนึ่ง คล้ายกับเงินเดือน ค่าเช่า ค่าน้ำ ค่าไฟ ที่จะต้องจ่ายทุกเดือน ดังนั้น เพื่อต้นทุนการเงินของแหล่งเงินทุนถูกประเมินอย่างถูกต้อง และราบรื่น ไม่กระทบกับการดำเนินธุรกิจ ธุรกิจจะมีแนวทางในการเตรียมตัวอย่างไรบ้าง
ทุกคนทราบไหมว่า ทำไมยอดเงินเดือนจริงๆ ที่โอนเข้าบัญชีจากทางบริษัท ถึงน้อยกว่าเงินเดือนที่ระบุไว้ตอนทำสัญญาว่าจ้าง หรือทำไมตอนรับงานนอก ผู้ว่าจ้างโอนเงินให้เราน้อยกว่าค่าจ้างที่ตกลงกันไว้นิดๆ หน่อยๆ ทั้งนี้ อย่าเพิ่งตกใจไป เพราะโดยปกติ เงินส่วนที่ถูกหักไปนั้น คือ เงินภาษีหัก ณ ที่จ่าย นั่นเอง วันนี้ เรามาดูกันว่า ภาษีหัก ณ ที่จ่าย คืออะไร แล้วเกี่ยวข้องกับการยื่นภาษีที่สรรพากรในแต่ละปีอย่างไร