ทดลองใช้งานฟรี
เรื่องภาษีเป็นเรื่องซับซ้อน บางทีเป็นแค่พนักงานกินเงินเดือนแล้วมีรายได้เสริมนิดหน่อย เวลาจะต้องยื่นภาษีนี่ก็เป็นงานที่หนักแล้ว ถ้าเป็นนิติบุคคลก็แทบไม่ต้องคิดเลยว่ามันจะยิ่งซับซ้อนเข้าไปอีก
เวลาพูดถึงงบการเงิน หลายๆ คนอาจเข้าใจว่ามันมีรายการเดียวคือ “งบดุล” แต่งบดุลเป็นแค่ส่วนหนึ่งของงบการเงินมาตรฐานของธุรกิจในปัจจุบันเท่านั้น และเอาจริงๆ งบการเงินมีส่วนประกอบใหญ่ๆ ถึง 5 ส่วนด้วยกัน ว่าแต่ ในแต่ละส่วนมันบอกอะไรเกี่ยวกับธุรกิจบ้าง? ลองไปดูกันค่ะ
สำหรับผู้ประกอบการนอกจากผลิตภัณฑ์หรือการบริการที่ต้องมุ่งพัฒนา เรื่องการเงินการบัญชีก็นับว่าเป็นฟันเฟืองสำคัญเช่นกันสำหรับการขับเคลื่อนธุรกิจ เพราะเราคงปฏิเสธไม่ได้ว่าการทำธุรกิจ เรื่องกำไร ขาดทุน ต้นทุน ภาษี สถานะทางการเงิน งบหรือตัวเลขต่างๆ ก็นับว่าเป็นสิ่งที่สำคัญมากอยู่แล้ว คงไม่มีใครที่อยากจะขายของได้เยอะ แต่ก็ขาดทุนไปเรื่อยๆ ใช่ไหมล่ะ
ตั้งแต่ต้นปี 2560 เป็นต้นมา รัฐบาลได้ประกาศ โครงการสนับสนุนให้ผู้ประกอบการ SMEs จดแจ้งบัญชีเดียวกับกรมสรรพากร พร้อมทั้งกระตุ้นและออกมาตรการจูงใจต่างๆ เพื่อเชิญชวนให้ผู้ประกอบการทั่วประเทศ จัดทำบัญชีสำหรับธุรกิจเพียงบัญชีเดียว เพื่อใช้ในการบริหารและยื่นแสดงรายได้ต่อกรมสรรพากร
การทำบัญชีอาจเป็นงานที่ธุรกิจขนาดเล็กๆ ไม่ค่อยให้ความสนใจ แต่ยิ่งธุรกิจมีขนาดใหญ่ขึ้น ก็ยิ่งต้องให้ความสำคัญด้านบัญชีมากขึ้น ดังจะเห็นได้ว่าในบริษัทใหญ่ๆ มีการตั้งตำแหน่ง CFO ขึ้นมาเป็นหัวหน้าของฝ่ายบัญชีและการเงินทั้งหมดในบริษัทเลยทีเดียว
การวางแผนภาษีธุรกิจให้ยั่งยืนสำหรับนิติบุคคลนั้น หลักๆ แล้วมี 3 องค์ประกอบด้วยกัน คือ การกำหนดทุนจดทะเบียนให้มีประสิทธิภาพทางภาษีที่สุด, การลดรายจ่ายต้องห้ามให้มากที่สุด และเพิ่มรายจ่ายที่หักได้เพิ่มให้มากที่สุด ส่วนแต่ละองค์ประกอบจะเป็นอย่างไรไปดูกันเลย
แน่นอนว่าในตอนเริ่มทำธุรกิจ ช่วงเริ่มต้น นักธุรกิจหน้าใหม่หลายคนคงจดทะเบียนธุรกิจในนามบุคคลธรรมดามากกว่าการจดเป็นนิติบุคคล และเมื่อทำธุรกิจไปสักพักใหญ่ ก็อาจเกิดคำถามว่าควรจะ “แปลงสภาพ” ธุรกิจของตัวเองจากธุรกิจบุคคลธรรมดาไปเป็นธุรกิจแบบนิติบุคคลดีหรือไม่
ข้อผิดพลาดทางบัญชีที่พบบ่อยในธุรกิจ SME (ธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม) มีหลายประเภท ซึ่งอาจส่งผลกระทบต่อการบริหารจัดการและการเติบโตของธุรกิจ ดังนี้
แรงจูงใจหลักในการที่จะทำให้บริษัทหนึ่งจดทะเบียนเป็นนิติบุคคลก็คงจะหนีไม่พ้นสิทธิที่บริษัทเสียภาษีบนฐานของผลกำไรของบริษัท กล่าวคือ บริษัทสามารถหักรายจ่ายต่างๆ ออกจากรายได้ได้ตามจริง และเงินได้ของบริษัทที่จะเสียภาษีก็จะเป็นแค่ส่วนของผลกำไรของบริษัทเท่านั้น ไม่ใช่ต้องเสียจากรายได้หรือเหมารายจ่ายได้สูงสุดเพียง 60% เช่นที่ต้องเสียในระบบภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา