
การประหยัดภาษีแบบถูกวิธีคือการใช้สิทธิประโยชน์ทางภาษีให้ครบถ้วน จะช่วยให้ประหยัดภาษีได้ วันนี้แอดมินเลยรวบรวม 10 สิทธิประโยชน์ทางภาษีที่น่าสนใจเอามาฝากทุกคน

เงื่อนไข
- เฉพาะบริษัทหรือห้า้งหุ้นส่วนนิติบุคคล ซึ่งมีทุนที่ชำระแล้ว
ในวันสุดท้า้ยของรอบฯ ไม่เกิน 5 ล้า้นบาท และ
- มีรายได้จากการขายสินค้า้และการให้บริการ ในรอบฯ ไม่เกิน 30 ล้านบาท ต่อเนื่องกัน
ตั้งแต่รอบฯ ที่เริ่มในหรือหลัง วันที่ 1 มกราคม 2555 เป็นต้นมา

เงื่อนไข
- บริษัทหรือห้า้งหุ้นส่วนนิติบุคคล ที่มีสินทรัพย์ถาวร (ไม่รวมที่ดิน) ไม่เกิน 200 ล้า้นบาท
- จ้างแรงงาน ไม่เกิน 200 คน
เงื่อนไข
- ระยะเวลาเดือนตุลาคม 2563 – 31 ธันวาคม 2565
- จ่ายผ่าน e-Withholding Tax เท่านั้น
เงื่อนไข
- ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2564- 30 กันยายน 2564
- บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลหักรายจ่ายที่ได้จ่ายไป
เป็นค่าห้องสัมมนา ค่าห้องพัก ค่าขนส่ง หรือรายจ่ายอื่นที่เกี่ยวข้องกับการอบรมสัมมนาภายในประเทศ
- ที่ได้จัดขึ้นให้แก่ลูกจ้าง หรือรายจ่ายที่ได้จ่ายให้แก่ผู้ประกอบธุรกิจนําเที่ยว
ตามกฎหมายว่าด้วยธุรกิจนําเที่ยว และมัคคุเทศก์
- เพื่อการอบรมสัมมนาภายในประเทศ
เงื่อนไข
จ่ายตั้งแต่ 1 พฤศจิกายน 2559 – 31 ธันวาคม 2565
บุคคลธรรมดา : มีเงินได้ประเภทที่ 5 6 7 หรือ 8 รวมกันไม่เกิน 30 ล้า้นบาท(ในปีภาษีที่ใช้สิทธิ)
บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล : มีทุนชำระแล้วในวันสุดท้า้ยของรอบฯ
ไม่เกิน 5 ล้า้นบาท และมีรายได้จากการขายสินค้า้และการให้บริการ ไม่เกิน 30 ล้า้นบาท(ในรอบฯ ที่ได้ใช้สิทธิ)

เงื่อนไข
- จดทะเบียนจัดตั้งแต่ 1 ตลุาคม 2558 – 31 ธันวาคม 2563
และยื่นคำขออนุมัติเิป็น New Start-up ภายในวันที่ 31 ธันวาคม 2564
- มีสถานประกอบการตั้งอยู่ใูนเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจเท่านั้น
(ท้องที่จังหวัดนราธิวาส ปัตตานี ยะลา)
- มีทุนชำระแล้วในวันสุดท้า้ยของรอบฯ ไม่เกิน 5 ล้า้นบาท
และมีรายได้จากการขายสินค้า้และการบริการในรอบฯ ไม่เกิน 30 ล้า้น
- มีรายได้จากการขายสินค้า้และการให้บริการของกิจการ ที่ประกอบอุตสาหกรรมเป้าหมาย
ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของรายได้ทั้งหมดในรอบฯ

เงื่อนไข
- มี 4 หน่วยงาน ประกอบด้วย
1) กองทุนเพื่อการพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
2) กองทุนส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม
3) กองทุนเพื่อการพัฒนาระบบมาตรวิทยา และ
4) กองทุนเพื่อการพัฒนาระบบสาธารณสุข
- สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2565
- บุคคลธรรมดาสามารถนำเงินที่บริจาคมาหักเป็นค่าใช้จ่ายหรือค่าลดหย่อน
แต่ต้องไม่เกินร้อยละ 10 ของเงินได้ หลังหักค่าใช้จ่ายและหักค่าลดหย่อนแล้ว
- บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลสามารถนำเงินที่บริจาคมาหักเป็นรายจ่าย
แต่ต้องไม่เกินร้อยละ 10 ของกำไรสุทธิก่อนหักรายจ่ายเพื่อการกุศลฯ และรายจ่ายเพื่อการศึกษาหรือการกีฬา



เงื่อนไข
- เป็นบริษัทหรือห้า้งหุ้นส่วนนิติบุคคล
- จ้างงานผู้สูงอายุที่มีอายุ 60 ปีบริบูรณ์ขึ้นไป
- ผู้สูงอายุเป็นลูกจ้างของบริษัทอยู่ก่อนแล้ว
หรือขึ้นทะเบียนกับกรมการจัดหางาน
- ค่าจ้างผู้สูงอายุเฉพาะรายที่จ่าย ไม่เกินเดือนละ 15,000 บาท
- เฉพาะรายจ่ายจากการจ้างผู้สูงอายุในส่วนที่ไม่เกิน 10% ของจำนวนลูกจ้างทั้งหมด
- ต้องไม่เป็นและไม่เคยเป็นกรรมการหรือผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ ที่จ้าง หรือบริษัทฯ ในเครือ
- ถ้าผู้สูงอายุทำงานหลายแห่ง ให้บริษัทฯ ที่รับทำงานก่อนได้รับสิทธิ
- ใช้สิทธิได้ตั้งแต่รอบฯ ที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 ม.ค. 59 เป็นต้นไป
เงื่อนไข
- กิจการใดที่มีลูกจ้างเกิน 100 คน ต้องจ้างคนพิการอย่างน้อย 1 คน
- ถ้าบริษัทไม่จ้างไม่ว่าเหตุผลใดก็ตาม ต้องจ่ายเข้ากองทุนพัฒนาชีวิตคนพิการ
(ค่าแรงขั้นต่ำ x 365)
- กรณีมีพนักงาน 200 คน ต้องจ้างคนพิการ 2 คน แต่มีพนักงานคนพิการเพียงแค่ 1 คน ถือว่าไม่เป็นไปตามข้อบังคับ บริษัทต้องจ่ายเข้ากองทุนดังกล่าวทดแทนคนพิการอีก 1 คน
เช่น บริษัทมีพนักงาน 200 คน จ้างคนพิการ 5 คน เงินเดือนคนละ 30,000 บาท ลงค่าใช้จ่าย 150,000บาท บริษัทนั้นสามารถลงค่าใช้จ่ายได้เพิ่มอีกคนละ 30,000 บาท (150,000บาท)
- คนพิการนั้นต้องมีบัตรประจำตัวคนพิการ
เงื่อนไข
- นอกเหนือจากเงื่อนไขปกติ ถ้ากิจการมีการจ้างคนพิการเข้ามาทำงาน โดยคนพิการมีจำนวนเกินกว่า 60% ของ พนักงานลูกจ้าง และ
- มีระยะเวลาในการจ้างเกิน 180 วัน
ที่มา : www.iliketax.com